K-On Ritsu Tainaka

วันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การหาแรงตึงเชือก

การหาแรงตึงเชือก
หลักการ
1. เชือกเส้นเดียวกันแรงตีงเชือกย่อมเท่ากัน2. แรงตึงเชีอกมีทิศพุ่งออกจากจุดที่เราพิจารณา3. รอกลื่นทำให้เชือกเปลี่ยนทิศทางเท่านั้นไม่มีผลต่อขนาดของแรงที่กระทำ
ตัวอย่างการคำนวณ
1. จากรูปจงหา ความเร่งและแรงตึงเชือก
เขียนแรงที่กระทำ





คิดวิเคราะห์ 
    พิจารณาทั้งระบบ
           1. แรงภายนอกมากระทำ คือ น้ำหนักและแรงปฏิกิริยา และแรงกระทำ F
           2. น้ำหนัก และ แรงปฏิกิริยา เป็นแรงที่ตั้งฉากกับแน อ่านเพิ่มเติม

อัตราเร็ว

อัตราเร็ว (สัญลักษณ์: v) คืออัตราของ การเคลื่อนที่ หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งก็ได้ หลายครั้งมักเขียนในรูป ระยะทาง d ที่เคลื่อนที่ไปต่อ หน่วย ของ เวลา t
อัตราเร็ว เป็นปริมาณสเกลาร์ที่มีมิติเป็นระยะทาง/เวลา ปริมาณเวกเตอร์ที่เทียบเท่ากับอัตราเร็วคือความเร็ว อัตราเร็ววัดในหน่วยเชิงกายภาพเดียวกับความเร็ว แต่อัตราเร็วไม่มีองค์ประกอบของทิศทางแบบที่ความเร็วมี อัตราเร็วจึงเป็นองค์ประกอบส่วนที่เป็นขนาดของความเร็ว
ในรูปสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ อัตราเร็วคือ
หน่วยของอัตราเร็ว ได้แก่
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ อัตราเร็ว

แรงเสียดทาน

แรงเสียดทาน หรือ ความเสียดทาน (อังกฤษ: friction) เป็นแรงที่ต้านการเคลื่อนที่เชิงสัมพัทธ์ของพื้นผิวที่เป็นแข็ง ชั้นของเหลว และองค์ประกอบของวัตถุที่ไถลในทิศทางตรงกันข้ามซึ่งกันและกัน แรงเสียดทานแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่
  • แรงเสียดทานชนิดแห้ง ต้านการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของพื้นผิวของของแข็งที่สัมผัสกัน แรงเสียดทานชนิดแห้งแบ่งออกเป็น แรงเสียดทานสถิต ระหว่างพื้นผิวที่ไม่มีการเคลื่อนที่ และ แรงเสียดทานจลน์ ระหว่างพื้นผิวที่กำลังเคลื่อนที่
  • แรงเสียดทานในของไหล อธิบายแรงเสียดทานระหว่างชั้นของของไหลที่มีความหนืด ซึ่งเคลื่อนที่สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แรงเสียดทาน

การหาแรงลัพธ์

การหาแรงลัพธ์
  แรงลัพธ์  หมายถึง ผลรวมของแรงที่กระทำต่อวัตถุทั้งขนาดและทิศทาง
    1. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน
       1.1 เมื่อแรงย่อยมีทิศเดียวกันให้นำแรงย่อยมารวมกัน ทิศทางของแรงลัพธ์จะเป็นทิศเดิม
       1.2 เมื่อแรงย่อยมีทิศทางตรงกันข้ามกัน ให้นำแรงย่อยมาลบกัน โดยแรงลัพธ์จะมีิทิศทางตามแรงที่มากกว่า
     2. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน
        2.1 เมื่อแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ ในทิศเดียวกัน แรงลัพธ์ก็คือ ผลบว อ่านเพิ่มเติม

แรง

     แรง ในทางฟิสิกส์คือการกระทำจากภายนอกที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบทางกายภาพ โดยแรงเป็นผลมาจากการใช้พลังงาน เช่น คนที่จูงสุนัขอยู่ด้วยเชือกล่าม ก็จะได้รับแรงจากเชือกที่มือ ซึ่งทำให้เกิดแรงดึงไปข้างหน้า ถ้าแรงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางจลนศาสตร์ตามกฎข้อที่สองของนิวตันคือ เกิดความเร่ง ถ้าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางจลนศาสตร์ก็อาจก่อให้เกิดคว อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แรง

ความเร่ง

ในฟิสิกส์ ความเร่ง (อังกฤษ: acceleration, สัญลักษณ์: a) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง (หรืออนุพันธ์เวลา) ของความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีหน่วยเป็นความยาว/เวลา² ในหน่วยเอสไอกำหนดให้หน่วยเป็น เมตร/วินาที²
เมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ซึ่งเรามักว่าเรียกความเร่ง กับ ความหน่วง ตามลำดับ ความเร่งมีนิยามว่า "อัตราการเปลี่ยนแปลงคว อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความเร่ง

การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง (Motion under gravity)
                เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ
สมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 
                เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่ง ดังนั้น สมการในการคำนวณจึงเหมือนกับสมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า a เป็นg เท่านั้น

การเคลื่อนที่ในแนวตรง

แรงและการเคลื่อนที่ 
   1. เวกเตอร์ของแรง       แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
           ปริมาณทางฟิสิกส์ มี 2 ชนิด คือ
           1. ปริมาณเวกเตอร์ (vector quality) หมายถึง ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น แรง ความเร็ว ความเร่ง โมเมนต์ โมเมนตัม น้ำหนัก เป็นต้น
           2. ปริมาณสเกลาร์ (scalar quality) หมายถึง ปริมาณที่มีแต่ขนาดอย่างเดี อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเคลื่อนที่ในแนวตรง

เลขนัยสำคัญ

      เลขนัยสำคัญ (significant figure) คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัดหรือคำนวณได้ ดังนั้นตัวเลขนัยสำคัญจึงประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงคว อ่านเพิ่มเติม

หน่วยฐาน

หน่วยเอสไอ(SI units;Systeme International d’Units)
        ระบบหน่วยระหว่างชาติ : การกำหนดมาตรฐานเพื่อเป็นหน่วยกลางทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International Systeme of Units หรือ Systeme-Internnational d’ Unites )และกำหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อร อ่านเพิ่มเติม